วันอังคารที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ความเป็นมาของทุ่งใหญ่นเรศวร

สมเด็จพระนเรศวร แห่งอยุธยาได้ใช้เป็นฐานที่มั่นเพื่อเตรียมการรบกับพม่าในสองครั้ง คือ ปี ๑๕๙๐ และปี ๑๖๐๕ จึงเป็นที่มาของชื่อที่เรียกกันว่า ทุ่งใหญ่นเรศวร ก็คือ ทุ่งหญ้าใหญ่ขององค์สมเด็จพระนเรศวร พื้นที่ทุ่งหญ้าสะวันนามักจะปราศจากสัตว์อยู่ อาศัย ส่วนพื่นที่ภูเขาปกคลุมไปด้วยต้นไม้ก็ไม่เหมาะในการเพาะปลูก ปัจจุบัน ยังเป็นแหล่งเพาะเชื่อโรคมาเลเรียอยูและนั่นก็คือเหตุผลที่ป้องกันมนุษย์ เข้ามา เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมและป่ายังอยู่ในสภาพธรรมชาติ และเพราะเหตุนี้สัตว์ป่าทั้งหมดที่มักพบอยู่ในป่าในแถบเอเชียอาคเนย์ก็จะพบ ได้ในพื้นที่ป่าแห่งนี้ รวมทั้งสัตว์ป่าหายาก เช่น เสือ เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าแห่งนี้ได้รับการประกาศขึ้นในวันที่ ๒๔ เดือนเมษายน ปี ๒๕๑๗

ภาพภูมิอากาศ

บริเวณสภาพภูมิ อากาศของเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าอยู่ในเขตโซนร้อนหรือเขตกึ่งร้อน subtropics ขึ้นอยู่กับความสูงของพื้นที่ อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๑๕ ถึง ๓๕ องศาเซลเซียสในหน้าร้อน ส่วนในหน้าหนาวอยู่ที่ ๒๐ ถึง ๓๙ องศาเซลเซียส และอยู่ระหว่าง ๑๐ ถึง ๒๙ ในหน้าแล้ง อยู่ที่ ๑๐ ถึง ๒๙ องศาเซลเซียส, และปริมาณฝนเฉลี่ยอยู่ที่ ๒๐๐๐ มิลลิเมตร

ลักษณะทางภูมิศาสตร์

เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่ห้วยขาแข้งมีป่าชุ่มน้ำที่สำคัญ ป่าชายเลน อ่างเก็บน้ำเล็ก ๆ หนอง และบึงอีกหลายแห่ง

พันธ์พืช

พืช ชนิด vegetation types หลักในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่เป็นป่าดิบเขา (54,900 เฮกเตอร์), ป่าดิบแล้ง (112,900 เฮกเตอร์), ป่าเบญจพรรณ (164,100 เฮกเตอร์) and ป่าเต็งรัง (3,600 เฮกเตอร์), ทุ่งหญ้าสะวันนา (9,900 เฮกเตอร์), ทุ่งหญ้า (3,900เฮกเตอร์) และพื้นที่การเกษตรไร่เลื่อนลอย (15,400เฮกเตอร์).

พันธ์สัตว์

สัตว์ป่า ที่พบในเขตรักษาป่าทุ่งใหญ่นเรศวรประกอบไปด้วยสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ๑๒๐ ชนิด นก ๔๐๐ ชนิด สัตว์เลี้อยคลาน ๙๖ ชนิด สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ๔๓ ชนิด และปลาน้ำจืด ๑๑๓ ชนิด อาจมีสัตว์หลายชนิดมากกว่าแต่ยังไม่มีการสำรวจและยืนยันอย่างเป็นทางการ สำหรับเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่ามีพื้นที่ใหญ่พอที่จะรองรับสัตว์ใหญ่ที่เลี้ยง ลูกด้วยนม ซึ่งอาจหาได้ยากหรือไม่สามารถพบได้แล้วในพื้นที่ทั่วไปในประเทศไทย แต่สามารถพบได้ที่นี้ เช่น เสือ, เสือดาว, เสือดาวลายเมฆ, ช้างเอเชีย, สมเสร็จ, แรดสุมาตรา (Sumatran), กระทิง (gaur) , (mainland serow) และกวาง (hog deer) ในปี ๒๕๒๘ มีการพบฝูงกระทิง โคปรี? (gaur) กว่า ๕๐ ตัว ซึ่งเป็นฝูงที่ใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกมาในประเทศไทย ในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าแห่งนี้ไม่มีการยืนยันว่าพบวัวแดงและควายป่าแม้ว่า ทั้งสองชนิดอาศัยอยู่ในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งที่อาศัยอยู่ใกล้ ๆ ในปี ๒๕๓๕ มีการถ่ายรูปรอยเท้าของแรดชวา (Javan rhinoceros) ที่คาดว่าน่าจะอาศัยอยู่ไม่ไกลจากพื้นที่

แหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยว

เส้น ทางศึกษาธรรมชาติ ๒ กิโลเมตรจากอาคารสำนักงานซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเขตมรดกโลกจะช่วยให้ นักท่องเที่ยวเรียนรู้และเข้าใจชนิดพันธ์พืชในบริเวณป่าได้อย่างดี

ที่พัก

ทิศตะวันออก บริการพื้นที่ตั้งเต็นท์ที่อาคารสำนักงานของเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่ด้านทิศตะวันออก

การเดินทาง

ทิศ ตะวันออก ๕๐ กิโลเมตรจากอำเภออุ้มผาง (จังหวัดตาก) โดยไปกับบริษัททัวร์หรือโดยรถยนตร์ส่วนตัวตามเส้นทางหมายเลข ๑๐๙๐ และอาจไม่จำเป็นสำหรับการใช้รถยนตร์ขับเคลื่อนสี่ล้อ

การเดินทางสู่เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า

เขต รักษาพันธ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรมีกฏเกณฑ์ที่เข้มงวดมากกว่าอุทยานแห่งชาติ ในการที่จะเปิดรับนักท่องเที่ยว เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าได้กำหนดขึ้นเป็นพื้นที่ให้สัตว์ได้อยู่และ เคลื่อนที่อย่างสะดวกและโดยไม่มีการรบกวนอย่างดีที่สุด ดังนั้นจะเปิดต้อนรับเฉพาะเพื่อการทำวิจัยหรือเพื่อการศึกษา หรือ การทำงาานแบบอาสาสมัครเท่านั้น


วันจันทร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

แหล่งท่องเที่ยว

แหล่งท่องเที่ยว

พื้นที่ของผืนป่าตะวันตกถือได้ว่ามีภูมิทัศน์ที่สวยงามโดดเด่นและเต็มไปด้วยพรรณพืช และพรรณสัตว์
องค์ประกอบของระบบนิเวศเขตร้อนชื้นต่างสามารถที่จะสัมผัสได้อย่างไกล้เคียง ไม่ว่าจะเป็น ไม่ว่าจะเป็นป่าผลัดใบ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าลุ่มน้ำ ป่าไผ่ ป่าต้นสัก ป่าสน ทุ่งหญ้าสะวันน่า (ทุ่งหญ้าเขตร้อน) ทุ่งหญ้า ที่ลุ่มน้ำขังและทะเลสาบ และหากคุณเป็นนักท่องเที่ยวที่โชคดีและมีความอดทน คุณอาจได้มีประสบการณ์เห็นสัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ เช่น ช้างป่า, เสือดาว ลิงค่าง ชะนี ลิงมะคัก หมี เสือ สมเสร็จ แพะ กระทิง หมูป่า กวาง ควาย นอกจากนั้นยังมีผีเสื้อและนกอีกหลายร้อยชนิด รวมทั้งนกที่พบได้ยาก เช่น นกเงือก และนกกระเต็น
อุทยานแห่งชาติบางแห่งมีภูมิทัศน์ที่สวยงามมาก เช่น อุทยานแห่งชาติเอราวัณ, น้ำตกห้วยแม่ขมิ้นภายในอุทยานแห่งชาติศรีนครินทร์ ทะเลหมอกที่ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน และขตรักษาพรรณสัตว์ป่าอุ้มผาง ถ้ำนกนางแอ่นที่อุทยานแห่งชาติลำคลองงูและอื่น

กิจกรรมการท่องเที่ยว
 
กิจกรรมการท่องเที่ยวมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการเดินป่า เดินชมธรรมชาติในผืนป่าตะวันตก น้ำตก หน้าผา จุดชมธรรมชาติ ถ้ำ หรือเพียงแค่การสัมผัสธรรมชาติแห่งป่าดงดิบ อุทยานแห่งชาติบางแห่ง เช่น อุทยานแห่งชาติเอราวัณ ขตรักษาพรรณสัตว์ป่าอุ้มผาง นำเสนอกิจกรรม การเดินเส้นทางศึกษาธรรมชาติที่ไม่ลำบากมากนักเพื่อเป็นการให้ความรู้เบื้องต้น ในเรื่องระบบนิเวศวิทยาเขตร้อนกิจกรรมการส่องสัตว์หรือการดูนกสามารถจัดได้ทั้งในป่าลึกและในบริเวณที่เดินทางเข้าถึงได้สะดวก

หลาย ๆ แห่งมีความน่าสนใจรอคอยการมาเยือนของนักสำรวจถ้ำ และผู้ต้องการสัมผัสกับโลกแห่งความลี้ลับที่ยังไม่มีใครค้นพบ หลาย ๆ แห่งมีลำธารเลี้อยเข้าไปภายในและกลายเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของฝูงค้างคาว

มีกิจกรรมมากมายภายในบริเวณ ๒๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ของผืนป่าตะวันตก ที่นักท่องเที่ยวสามารถทำได้ เสน่ห์และความลึกลับของป่าแห่งนี้ ทำให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับประสบการณ์ที่มากมาย หากเราต้องการ ให้การอารักขาผืนป่า สิ่งที่เราทำได้ทันทีเมื่อเข้าท่องเที่ยวในผืนป่า รวมอยู่ในคำขวัญรณรงค์ที่ว่า เก็บไว้เพียงความทรงจำ ทิ้งไว้เพียงแค่รอยเท้า

การเดินทาง
การเดินทางสู่อุทยานแห่งชาติ
แหล่งท่องเที่ยวในผืนป่าตะวันตกส่วนใหญ่เดินทางถึงได้ทางรถยนตร์เท่านั้น บางพื้นที่อาจต้องใช้รถขับเคลื่อนสี่ล้อ แต่ถนนส่วนใหญ่ดี และเพียงรถยนตร์ธรรมดาก็เดินทางไปได้สะดวก อย่างไรก็ตามหน้า แนะนำให้ใช้รถขัดเคลื่อนสี่ล้อเนื่องจากเส้นทางลื่นและเป็นอันตราย

บางพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติเอราวัณ เขาแหลม ไทรโยค ทองผาภูมิ สามารถเดินทางเข้าถึงได้โดยรถยนตร์โดยสารด้วยเช่นกัน
การเดินทางท่องเที่ยวรอบ ๆ

นักท่องเที่ยวสามารถเหมารถปิกอัพหรือรถแทรกเตอร์เพื่อเดินทางเที่ยวชมในบริเวณอุทยานหลาย ๆ แห่ง อย่างไรก็ตาม การเดินเท้าเทรกกิ้งน่าจะเป็นกิจกรรม ที่ให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับธรรมชาติและเป็นการเดินทางท่ามกลางธรรมชาติของป่าที่ได้รับความเพลิดเพลินมากที่สุด นั่นมิได้หมายถึงว่าการเดินเท้า เป็นสิ่งที่เงียบสอดคล้องกับธรรมชาติเท่านั้นแต่ หมายถึงโอกาสใน การได้เห็นสัตว์ป่า และชมภูมิทัศน์ที่สวยงามไปด้วยพร้อมกัน อุทยานแห่งชาติบางแห่ง เช่น เอราวัณและอุ้มผางหรือหลายแห่งอื่น ๆ ได้จัดทำเส้นทางการเดินป่าศึกษาธรรมชาติสั้น ๆ ไว้สำหรับนักท่องเที่ยวที่สนใจ


ลักษณะทางภูมิศาสตร์

ลักษณะทางภูมิศาสตร์

ครอบคลุมพื้นที่กว่า ๑๘๗๓๐ ตารางกิโลเมตร ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ของผืนป่าตะวันตกมีตั้งแต่ราบต่ำถึงภูเขาสูง จากเทือกเขาเย็นและเทือกเขาเต่าดำทางด้านทิศเหนือคลุมพื้นที่ภูเขาหินปูน หุบเขาและที่ราบลุ่มและอ่างเก็บน้ำจืดอยู่ส่วนกลาง ลาดลงไปสู่เทือกเขาตะนาวศรีที่ยาวไปจนเชื่อมต่อกับชายแดนพม่า บริเวณพื้นที่แห่งนี้ก่อให้เกิดทั้งแม่น้ำ ลำธาร ถ้ำ หน้าผา น้ำตกและจุดชมภูมิทัศน์ที่สวยงาม  และที่สำคัญยังมีต้นน้ำที่กำเนิดลุ่มน้ำอีกกว่า ๖ แห่งจากลุ่มน้ำหลัก ๒๕ ทั้งหมดในประเทศไทย

สภาพอากาศ
อากาศร้อนมากในหน้าแล้ง มีความชื้นมากในหน้าฝน และค่อนข้างหนาวเย็นในหน้าหนาว นี้เป็นเพียงการสรุปโดยกว้าง ๆ ทั่วไป แต่สำหรับพื้นที่โดยรวมซึ่งอาจยังไม่นัก ซึ่งยังมีข้อยกเว้นอีกมาก ยกตัวอย่างเช่น  ภูเขาที่คอยปกป้องอุทยานแห่งชาติเอราวัณจากลมมรสุมด้านทิศตะวันออกส่งผลให้ปริมาณฝนโดยเฉลี่ยน้อยลงในขณะที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานมีฝนตกหนักเนื่องจากสภาพอากาศใกล้หมดฤดูฝน

ฤดูในการท่องเที่ยว ช่วงที่เหมาะที่สุดสำหรับการเดินทางไปเยี่ยมชมผืนป่าตะวันตก คือฤดูหนาว แต่สำหรับการชมความสวยงามของน้ำตกและปริมาณอย่างเต็มที่ ฤดูฝนก็จะเหมาะกว่าเนื่องจากระดับน้ำเพิ่มขึ้นสูงสุด ในบางพื้นที่ อุณหภูมิ อาจสูงขึ้นได้ถึง ๔๐ องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายนและพฤษภาคม และลดลงต่ำถึง ๓ องศาในเดือนธันวาคม

การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์


สมเด็จพระนเรศวร แห่งอยุธยาได้ใช้เป็นฐานที่มั่นเพื่อเตรียมการรบกับพม่าในสองครั้ง คือ ปี ๑๕๙๐ และปี ๑๖๐๕ จึงเป็นที่มาของชื่อที่เรียกกันว่า ทุ่งใหญ่นเรศวร ก็คือ ทุ่งหญ้าใหญ่ขององค์สมเด็จพระนเรศวร พื้นที่ทุ่งหญ้าสะวันนามักจะปราศจากสัตว์อยู่ อาศัย ส่วนพื่นที่ภูเขาปกคลุมไปด้วยต้นไม้ก็ไม่เหมาะในการเพาะปลูก ปัจจุบัน ยังเป็นแหล่งเพาะเชื่อโรคมาเลเรียอยูและนั่นก็คือเหตุผลที่ป้องกันมนุษย์เข้ามา เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมและป่ายังอยู่ในสภาพธรรมชาติ และเพราะเหตุนี้สัตว์ป่าทั้งหมดที่มักพบอยู่ในป่าในแถบเอเชียอาคเนย์ก็จะพบได้ในพื้นที่ป่าแห่งนี้ รวมทั้งสัตว์ป่าหายาก เช่น เสือ เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าแห่งนี้ได้รับการประกาศขึ้นในวันที่ ๒๔ เดือนเมษายน ปี ๒๕๑๗



ภาพภูมิอากาศ

บริเวณสภาพภูมิอากาศของเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าอยู่ในเขตโซนร้อนหรือเขตกึ่งร้อน subtropics ขึ้นอยู่กับความสูงของพื้นที่ อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๑๕ ถึง ๓๕ องศาเซลเซียสในหน้าร้อน ส่วนในหน้าหนาวอยู่ที่ ๒๐ ถึง ๓๙ องศาเซลเซียส และอยู่ระหว่าง ๑๐ ถึง ๒๙ ในหน้าแล้ง อยู่ที่ ๑๐ ถึง ๒๙ องศาเซลเซียส, และปริมาณฝนเฉลี่ยอยู่ที่ ๒๐๐๐ มิลลิเมตร



ลักษณะทางภูมิศาสตร์

เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่ห้วยขาแข้งมีป่าชุ่มน้ำที่สำคัญ ป่าชายเลน อ่างเก็บน้ำเล็ก ๆ หนอง และบึงอีกหลายแห่ง

พันธ์พืช

พืชชนิด vegetation types หลักในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่เป็นป่าดิบเขา (54,900 เฮกเตอร์), ป่าดิบแล้ง (112,900 เฮกเตอร์), ป่าเบญจพรรณ (164,100 เฮกเตอร์) and ป่าเต็งรัง (3,600 เฮกเตอร์), ทุ่งหญ้าสะวันนา (9,900 เฮกเตอร์), ทุ่งหญ้า (3,900เฮกเตอร์) และพื้นที่การเกษตรไร่เลื่อนลอย (15,400เฮกเตอร์).



พันธ์สัตว์

สัตว์ป่าที่พบในเขตรักษาป่าทุ่งใหญ่นเรศวรประกอบไปด้วยสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ๑๒๐ ชนิด นก ๔๐๐ ชนิด สัตว์เลี้อยคลาน ๙๖ ชนิด สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ๔๓ ชนิด และปลาน้ำจืด ๑๑๓ ชนิด อาจมีสัตว์หลายชนิดมากกว่าแต่ยังไม่มีการสำรวจและยืนยันอย่างเป็นทางการ สำหรับเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่ามีพื้นที่ใหญ่พอที่จะรองรับสัตว์ใหญ่ที่เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งอาจหาได้ยากหรือไม่สามารถพบได้แล้วในพื้นที่ทั่วไปในประเทศไทย แต่สามารถพบได้ที่นี้ เช่น เสือ, เสือดาว, เสือดาวลายเมฆ, ช้างเอเชีย, สมเสร็จ, แรดสุมาตรา (Sumatran), กระทิง (gaur) , (mainland serow) และกวาง (hog deer) ในปี ๒๕๒๘ มีการพบฝูงกระทิง โคปรี? (gaur) กว่า ๕๐ ตัว ซึ่งเป็นฝูงที่ใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกมาในประเทศไทย ในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าแห่งนี้ไม่มีการยืนยันว่าพบวัวแดงและควายป่าแม้ว่าทั้งสองชนิดอาศัยอยู่ในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งที่อาศัยอยู่ใกล้ ๆ ในปี ๒๕๓๕ มีการถ่ายรูปรอยเท้าของแรดชวา (Javan rhinoceros) ที่คาดว่าน่าจะอาศัยอยู่ไม่ไกลจากพื้นที่


แหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยว

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ๒ กิโลเมตรจากอาคารสำนักงานซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเขตมรดกโลกจะช่วยให้นักท่องเที่ยวเรียนรู้และเข้าใจชนิดพันธ์พืชในบริเวณป่าได้อย่างดี


ที่พัก

ทิศตะวันออก บริการพื้นที่ตั้งเต็นท์ที่อาคารสำนักงานของเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่ด้านทิศตะวันออก

การเดินทาง

ทิศตะวันออก ๕๐ กิโลเมตรจากอำเภออุ้มผาง (จังหวัดตาก) โดยไปกับบริษัททัวร์หรือโดยรถยนตร์ส่วนตัวตามเส้นทางหมายเลข ๑๐๙๐ และอาจไม่จำเป็นสำหรับการใช้รถยนตร์ขับเคลื่อนสี่ล้อ



การเดินทางสู่เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า

เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรมีกฏเกณฑ์ที่เข้มงวดมากกว่าอุทยานแห่งชาติในการที่จะเปิดรับนักท่องเที่ยว เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าได้กำหนดขึ้นเป็นพื้นที่ให้สัตว์ได้อยู่และ เคลื่อนที่อย่างสะดวกและโดยไม่มีการรบกวนอย่างดีที่สุด ดังนั้นจะเปิดต้อนรับเฉพาะเพื่อการทำวิจัยหรือเพื่อการศึกษา หรือ การทำงาานแบบอาสาสมัครเท่านั้น



การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในผืนป่าตะวันตก

เนื่องจากผืนป่าตะวันตกยังคงความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติจึงเหมาะสมสำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ระบบนิเวศที่หลากหลายครอบคลุมตั้งแต่ผืนป่าเขตร้อน ป่าชายเลน ป่าทุ่งหญ้า ที่ราบ จนผืนป่าเชิงเขาทำให้เกิดความหลากหลายทั้งพันธุ์สัตว์และพรรณพืช และความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ เช่น น้ำตก ถ้ำ ภูมิทัศน์ที่สวยงาม และเส้นทางเดินป่าที่น่าสนใจให้กับนักศึกษาธรรมชาติ
ลักษณะทางภูมิศาสตร์

ครอบคลุมพื้นที่กว่า ๑๘๗๓๐ ตารางกิโลเมตร ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ของผืนป่าตะวันตกมีตั้งแต่ราบต่ำถึงภูเขาสูง จากเทือกเขาเย็นและเทือกเขาเต่าดำทางด้านทิศเหนือคลุมพื้นที่ภูเขาหินปูน หุบเขาและที่ราบลุ่มและอ่างเก็บน้ำจืดอยู่ส่วนกลาง ลาดลงไปสู่เทือกเขาตะนาวศรีที่ยาวไปจนเชื่อมต่อกับชายแดนพม่า บริเวณพื้นที่แห่งนี้ก่อให้เกิดทั้งแม่น้ำ ลำธาร ถ้ำ หน้าผา น้ำตกและจุดชมภูมิทัศน์ที่สวยงาม และที่สำคัญยังมีต้นน้ำที่กำเนิดลุ่มน้ำอีกกว่า ๖ แห่งจากลุ่มน้ำหลัก ๒๕ ทั้งหมดในประเทศไทย



สภาพอากาศ
อากาศร้อนมากในหน้าแล้ง มีความชื้นมากในหน้าฝน และค่อนข้างหนาวเย็นในหน้าหนาว นี้เป็นเพียงการสรุปโดยกว้าง ๆ ทั่วไป แต่สำหรับพื้นที่โดยรวมซึ่งอาจยังไม่นัก ซึ่งยังมีข้อยกเว้นอีกมาก ยกตัวอย่างเช่น ภูเขาที่คอยปกป้องอุทยานแห่งชาติเอราวัณจากลมมรสุมด้านทิศตะวันออกส่งผลให้ปริมาณฝนโดยเฉลี่ยน้อยลงในขณะที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานมีฝนตกหนักเนื่องจากสภาพอากาศใกล้หมดฤดูฝน


ฤดูในการท่องเที่ยว ช่วงที่เหมาะที่สุดสำหรับการเดินทางไปเยี่ยมชมผืนป่าตะวันตก คือฤดูหนาว แต่สำหรับการชมความสวยงามของน้ำตกและปริมาณอย่างเต็มที่ ฤดูฝนก็จะเหมาะกว่าเนื่องจากระดับน้ำเพิ่มขึ้นสูงสุด ในบางพื้นที่ อุณหภูมิ อาจสูงขึ้นได้ถึง ๔๐ องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายนและพฤษภาคม และลดลงต่ำถึง ๓ องศาในเดือนธันวาคม